คำถามที่พบบ่อย (FAQs)

สถานคุ้มครองและพัฒนาคนพิการบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา (สคพ.บางปะกง)

บัตรคนพิการ

ผู้ต้องการขอมีบัตรคนพิการ สามารถให้แพทย์เฉพาะทาง วินิจฉัยตรวจประเมินความพิการ

หากเข้าเกณฑ์ความพิการ แพทย์จะออกเอกสารรับรองความพิการให้ แล้วนำเอกสารมาขอออกบัตรประจำตัวคนพิการที่ศูนย์บริการคนพิการใกล้บ้าน หรือยื่นแบบคำขอมีบัตรฯ ที่ห้องสังคมสงเคราะห์ ชั้น 1 โรงพยาบาลศิริราช

 

การเพิ่มผู้ดูแล ขึ้นอยูกับความประสงค์ของคนพิการ ว่าต้องการมีหรือไม่ เว้นแต่คนพิการสูงอายุ (อายุ60ปีขึ้นไป) จำเป็นต้องมีชื่อผู้ดูแลอยู่ในบัตร

 

ประเภทความพิการในบัตรประจำตัวคนพิการ ต้องให้แพทย์เฉพาะทางเป็นผู้ประเมิน ไม่สามารถเลือกเองได้

ทั้งนี้ สามารถเข้าตรวจประเมินความพิการเพิ่มเติมที่รพ.รัฐทุกแห่ง หรือรพ.เอกชนตามประกาศ และนำเอกสารรับรองความพิการ แจ้งขอเพิ่มหรือเปลี่ยนประเภทความพิการที่ สำนักงานพัฒนาสังคมจังหวัด ทุกจังหวัด

 

เอกสารที่ใช้ทำบัตรคนพิการ กรณีบัตรสูญหาย
เอกสารสำหรับคนพิการที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • รูปถ่ายสี 1 นิ้ว สองรูป ไม่เกิน 6 เดือน
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)

เอกสารรับรองความพิการ (กรณีเพิ่มประเภทความพิการ / กรณีสมุดคนพิการหาย)
เอกสารผู้ดูแลที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (รับรองสำเนา) (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)

 

เอกสารที่ใช้ทำบัตรคนพิการ (บัตรเติมหมดอาถุ / สูญทาย / ชำฉุก / แก้ใขข้อมูลสำคัญ)
เอกสารสำหรับคนพิการที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • รูปถ่ายสี 1 นิ้ว สองรูป ไม่เกิน 6 เดือน
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)
  • บัตรคนพิการเติมหรือสมุดคนพิการ
  • เอกสารรับรองความพิการ (กรณีเพิ่มประเกทความพิการ / กรณีสมุดคนพิการหาย)

** บัตรคนพิการ สามารถต่อล่วงหน้าได้ 30 วัน ก่อนหมดอายุ

เอกสารผู้ดูแลที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (รับรองสำเนา) (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)

** กรณี (สมุดคนพิการ) หาย ต้องให้แพทย์ประเมินความพิการมาใหม่

 

ผู้ดูแลคนพิการ/ทุพลภาพ

เอกสารที่ต้องเตรียมกรณีเพิ่มผู้ดูแลคนพิการ / เปลี่ยนผู้ดูแลคนพิการ

กรณีมาดำเนินการแทนคนพิการ

  • หนังสือมอบอำนาจจากคนพิการ (กรอกข้อมูลให้ครบถ้วนจากผู้ปกครอง บิดา / มารดา กรณีผู้พิการยังไม่บรรลุนิติภาวะ) พร้อมแนบบัตรประชาชน
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ได้รับมอบอำนาจ

เอกสารสำหรับคนพิการที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • รูปถ่ายสี 1 นิ้ว สองรูป ไม่เกิน 6 เดือน

กรณีคนพิการไปด้วยตนเอง สามารถไปถ่ายรูปที่ศูนย์บริการคนพิการได้

  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)
  • สำเนาใบมรณะ (กรณีผู้ดูแลคนเดิมเสียชีวิต)
  • บัตรคนพิการเดิมหรือสมุดคนพิการ

กรณีทะเบียนบ้านเดียวกัน

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)

เอกสารผู้ดูแลที่ต้องเตรียม กรณีอยู่คนละทะเบียนบ้าน

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา)
  • หนังสือรับรองการเป็นผู้ดูแลคนพิการ (คนรับรองต้องอาศัยอยู่ชุมชน หรือเขตเดียวกันกับคนพิการ ผู้รับรองต้องอาศัยอยู่ในชุมชน หรือพื้นที่ หรือเขตเดียวกับที่คนพิการอาศัยอยู่ตามจริง
  • สำเนาบัตรประจำตำแหน่งบัตรข้าราชการ หรือบัตรประจำตำแหน่ง (พร้อมรับรองสำเนา) ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างประจำของหน่วยงานราชการ ข้าราชการบำเน็จบำนาญไม่สามารถ รับรองได้

ถ้าพาคนพิการไปด้วย ต้องมีใบรับรองคนพิการมั้ย กรณีผู้ดูแลเพิ่ม นามสกุลเดียวกัน

  • กรณีคนพิการไปด้วย สามารถบันทึกปากคำคนพิการ แทนการยื่นหนังสือรับรองการเป็นผู้ดูแลจากบุคคลอื่นได้

 

กรุงเทพฯ ติดต่อที่ 255 อาคาร 60 ปี กรมประชาสงเคราะห์ ถนนราชวิถี แขวงทุ่งพญาไท เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 รถประจำทาง: ถนนราชวิถี : 12, 14, 28, 108, 171, 542, 539, 515

ในส่วนภูมิภาคติดต่อได้ที่สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด ทุกจังหวัด

 

การเปลี่ยนผู้ดูแลคนพิการ กรณีอยู่คนละทะเบียนบ้าน ต้องมีหนังสือรับรองการเป็นผู้ดูแลคนพิการ (คนรับรองต้องอาศัยอยู่ชุมชน หรือเขตเดียวกันกับคนพิการ ผู้รับรองต้องอาศัยอยู่ในชุมชน หรือพื้นที่ หรือเขตเดียวกับที่คนพิการอาศัยอยู่ตามจริง – สำเนาบัตรประจำตำแหน่งบัตรข้าราชการ หรือบัตรประจำตำแหน่ง (พร้อมรับรองสำเนา) ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างประจำของหน่วยงานราชการ ข้าราชการบำเน็จบำนาญไม่สามารถ รับรองได้

 

เอกสารที่ใช้ทำบัตรคนพิการ (เพิ่มผู้ดูแลคนพิการ / เปลี่ยนผู้ดูแลคนพิการ) กรณีมาดำเนินการแทนคนพิการ หนังสือมอบอำนาจจากคนพิการ (กรอกข้อมูลให้ครบถ้วนจากผู้ปกครองบิดา / มารดา กรณีผู้พิการยังไม่บรรลุนิติภาวะ) พร้อมแนบบัตรประชาชน สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียนบ้าน ของผู้ได้รับมอบอำนาจ

เอกสารสำหรับคนพิการที่ต้องเตรียม

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนาหรือพิมพ์ลายนิ้วมือ)
  • รูปถ่ายสี 1 นิ้ว สองรูป ไม่เกิน 6 เดือน
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)
  • สำเนาใบมรณะ (กรณีผู้ดูแลคนเดิมเสียชีวิต)
  • บัตรคนพิการเดิมหรือสมุดคนพิการ กรณีทะเบียนบ้านเดียวกัน
  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาใบเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล (กรณีเปลี่ยนชื่อ – เปลี่ยนนามสกุล)

เอกสารผู้ดูแลที่ต้องเตรียม กรณีอยู่คนละทะเบียนบ้าน

  • สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (รับรองสำเนา)
  • สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา)
  • หนังสือรับรองการเป็นผู้ดูแลคนพิการ (คนรับรองต้องอาศัยอยู่ชุมชน หรือเขตเดียวกันกับคนพิการ ผู้รับรองต้องอาศัยอยู่ในชุมชน หรือพื้นที่ หรือเขตเดียวกับที่คนพิการอาศัยอยู่ตามจริง)
  • สำเนาบัตรประจำตำแหน่งบัตรข้าราชการ หรือบัตรประจำตำแหน่ง (พร้อมรับรองสำเนา) ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างประจำของหน่วยงานราชการ ข้าราชการบำเน็จบำนาญไม่สามารถ รับรองได้

 

เอกสารผู้ดูแลที่ต้องเตรียม กรณีอยู่คนละทะเบียนบ้าน บัตรประจำตัวประชาชนฉบับจริง หรือ สำเนาบัตรประชาชน สำเนาทะเบียนบ้าน (รับรองสำเนา) หนังสือรับรองการเป็นผู้ดูแลคนพิการ(คนรับรองต้องอาศัยอยู่ชุมชน หรือเขตเดียวกันกับคนพิกา ผู้รับรองต้องอาศัยอยู่ในชุมชน หรือพื้นที่ หรือเขตเดียวกับที่คนพิการอาศัยอยู่ตามจริง สำเนาบัตรประจำตำแหน่งบัตรข้าราชการ (พร้อมรับรองสำเนา) ข้าราชการ พนักงานราชการ พนักงานรัฐวิสาหกิจ ลูกจ้างประจำของ หน่วยงานราชการ ข้าราชการบำเน็บำนาญไม่สามารถรับรองได้

 

สอบถามข้อมูลการกู้ยืมของคนพิการได้ที่ ศูนย์บริการคนพิการกรุงเทพมหานคร เบอร์ 02-354-3388 ต่อ 703 หรือกลุ่มส่งเสริมโอกาสและติดตามประเมินผล (งานเงินกู้) 02-1069338-9340 หรือสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดที่ทำการยื่นคำขอกู้ยืมเงินไว้

 

ทั่วไป

วัน – เวลาที่ให้บริการทำขาเทียม ณ สำนักงานมูลนิธิขาเทียมฯ ดังนี้

เพื่อให้การทำขาเทียมเป็นไปด้วยความรวดเร็ว คนพิการไม่ต้องเสียเวลาในการรอขาเทียม มูลนิธิขาเทียมฯ จึงขอให้คนพิการที่ต้องการทำขาเทียม โทรศัพท์นัดล่วงหน้าที่เบอร์ 053-112271 หรือมาให้แพทย์ตรวจร่างกายก่อนเวลา 10.00 น.ของวันทำการในกรณีขาขาดระดับ ใต้เข่า (BK)

ท่านจะได้รับ ขาเทียมภายในวันนั้น และ กรณีขาขาดระดับเหนือเข่า (AK) ท่านอาจได้รับขาเทียมภายใน 2 – 3 วันขึ้นอยู่กับความสภาพและความพร้อมของตอขา

มูลนิธิขาเทียม ในสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สำนักงานเชียงใหม่

ที่อยู่ : 199 หมู่ 4 ต. ดอนแก้ว อ. แม่ริม จ. เชียงใหม่ 50180

โทร. 0-5311-2271-3 แฟกซ์ : 0-5311-2275

เวลาทำการ วันจันทร์ – วันศุกร์ วันเสาร์ – อาทิตย์-วันหยุดนักขัตฤกษ์ หยุดทำการ เวลา 08.30 น. – 16.30 น.

053-112-271 (สำนักงานเชียงใหม่)

 

E-Book ประเด็น ถาม - ตอบ